|
|
|
|
|
|
|
มีเส้นทางคมนาคมติดต่อระหว่างตำบลกับจังหวัดเป็นถนนลาดยางมีทั้งสิ้น
3 เส้นทาง ดังนี้ |

 |
โดยทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1073 ติดต่อกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) |

 |
โดยทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1073 ติดต่อกับทางหลวงหมายเลข 1084 |

 |
โดยทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1182 การคมนาคมระหว่างตำบลกับอำเภอ โดยทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1073 และทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1182 การคมนาคมติดต่อภายในตำบล โดยถนนพหลโยธิน ซึ่งผ่านหมู่ที่ 5
และหมู่ที่ 6 โดยทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1073 ซึ่งผ่านหมู่ที่ 5,4,1 และหมู่ที่ 2 โดยทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1182 ซึ่งผ่านหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 2 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |

 |
รับน้ำจากแม่น้ำปิงผ่านมายังคลองธรรมชาติ ดังนี้ |
|

 |
คลองตั้วเกา มีประตูระบายน้ำอยู่ที่หมู่ 1 บ้านตั้วเกา ไหลผ่านหมู่ 1,2,3 และหมู่ที่ 4 พื้นที่รับน้ำเพื่อการเกษตร ประมาณ 20,000 ไร่ |

 |
คลองน้ำหัก มีประตูระบายน้ำที่หมู่ 6 บ้านน้ำหักตำบลบ้านแดน ไหลผ่านหมู่ 1,4,5 และหมู่ที่ 6 พื้นที่รับน้ำ เพื่อการเกษตร ประมาณ 1,500 ไร่ |

 |
คลองกระดาน รับน้ำจากอำเภอลาดยาวอยู่ทางทิศตะวันตกของตำบล ไหลผ่าน หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 6 พื้นที่รับน้ำเพื่อการเกษตร ประมาณ 1,200 ไร่ เฉพาะฤดูฝน |
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |

 |
บ่อน้ำตื้น |
จำนวน |
62 |
แห่ง |

 |
บ่อโยก (บ่อบาดาล) |
จำนวน |
65 |
แห่ง |

 |
สระน้ำ |
จำนวน |
20 |
แห่ง |

 |
เหมือง |
จำนวน |
4 |
แห่ง |

 |
คลองส่งน้ำ |
จำนวน |
6 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ |

 |
ทรัพยากรดิน สภาพดินพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะดินที่มีการระบายน้ำเร็ว เป็นดินเนื้อละเอียดหรือดินเหนียว มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เหมาะแก่การทำนา และปลูกผักต่างๆ เช่น อ้อย ถั่วเขียว ถั่วเหลือง เป็นต้น |

 |
ทรัพยากรน้ำ พื้นที่ของตำบลท่างิ้ว ไม่อยู่ในเขตชลประทาน แต่มีคลองธรรมชาติไหลผ่านในฤดูฝน จำนวน 4 คลอง คือ คลองแง่ง , คลองชะโอน , คลองตั้วเกา และคลองกระดาน ใช้ได้เฉพาะในช่วงฤดูฝน และมีแม่น้ำปิง
ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญสำหรับใช้ในการเพาะปลูกของเกษตรกร มักประสบปัญหาภัยแล้งซ้ำซากอยู่เสมอ ภายในตำบลไม่มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในการเกษตร หรือในช่วงฝนทิ้งช่วง ทำให้ประสบปัญหาความเสี่ยงในการปลูกพืช |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|